สมุนไพรในการปรับสมดุลฮอร์โมน

 เนื่องจากฮอร์โมนจะลดลงอย่างต่อเนื่องจนหยุดผลิตไป จึงทำให้ร่างกายเสียสมดุลและเกิดอาการต่าง ๆ ดังข้างต้น สารอาหารที่ช่วยบำรุงร่างกายหรือสามารถเพิ่มระดับฮอร์โมนเพศได้ เป็นสารกลุ่มไอโซฟลาโวนที่เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเปลี่ยนเป็นไฟโตเอสโตรเจน ทำหน้าที่ออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเอสโตรเจนของเพศหญิง โกรท ฮอร์โมนและฮอร์โมนไทรอยด์ โกรทฮอร์โมน หรือฮอร์โมนจีเอช (Growth Hormone : GH) เป็นฮอร์โมนหลักที่ผลิตจากต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) ถูกสร้างขึ้นจากหน่วยย่อยของโปรตีนหรือกรดอะมิโนหลายชนิด ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย ควบคุมการทำงานของอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างไทรอยด์ฮอร์โมนได้ไม่เพียงพอ ทำให้ร่างกายทุกส่วนทำงานเชื่องช้า

สมุนไพรในการปรับสมดุลฮอร์โมน1

สมดุลฮอร์โมน

1.โกรท ฮอร์โมน

โกรทฮอร์โมน หรือฮอร์โมนจีเอช (Growth Hormone : GH) เป็นฮอร์โมนหลักที่ผลิตจากต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) ถูกสร้างขึ้นจากหน่วยย่อยของโปรตีนหรือกรดอะมิโนหลายชนิด ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย ควบคุมการทำงานของอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ดูแลเรื่องการสร้างเซลล์ใหม่ให้กับอวัยวะต่างๆ เมื่อสึกหรอและต้องการซ่อมแซมให้ฟื้นฟูกลับมาทำงานได้เหมือนปกติ ดูแลการสร้างเซลล์กระดูกอ่อน ทำให้กระดูกเจริญเติบโตได้ตามปกติ ควบคุมการทำงานของระบบสมอง

2.ฮอร์โมนไทรอยด์

ภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างไทรอยด์ฮอร์โมนได้ไม่เพียงพอ ทำให้ร่างกายทุกส่วนทำงานเชื่องช้า เนื่องจากขาดไทรอยด์ฮอร์โมนไปกระตุ้นให้เกิดการเผาผลาญพลังงานให้เซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ การขาดสารไอโอดีน ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญในการผลิตฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ความผิดปกติของต่อมใต้สมอง เช่น เนื้องอกต่อมใต้สมอง การผ่าตัดต่อมใต้สมองโรคภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเองของต่อมไทรอยด์

สมุนไพรในการปรับสมดุลฮอร์โมน2

ตัวอย่างสมุนไพรเพื่อสมดุลฮอร์โมน

1.ตังกุย

สรรพคุณของตังกุยในการบรรเทาอาการปวดประจำเดือนจากการศึกษาบางส่วนพบว่า ตังกุยมีสารประกอบไลกัสติไลด์ (Ligustilide) ที่ออกฤทธิ์ช่วยคลายกล้ามเนื้อในร่างกาย รวมถึงกล้ามเนื้อบริเวณมดลูกด้วย ในช่วงก่อนและช่วงที่มีประจำเดือน ฮอร์โมนบางชนิดจะเพิ่มสูงขึ้นเพื่อกระตุ้นให้กล้ามเนื้อมดลูกหดตัว ช่วยให้เยื่อบุโพรงมดลูกลอกตัวและทำให้ไข่ตกจนเป็นประจำเดือนออกมา กล้ามเนื้อมดลูกที่หดเกร็งจึงทำให้เกิดอาการปวดท้องประจำเดือนได้

2.แอปริคอต

ผลแอพริคอตสุกมีเบตาแคโรทีนสูง เป็นสารตั้งต้นของวิตามินเอที่ช่วยบำรุงสายตา, ป้องกันโรคต้อกระจก และเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยลดความเสี่ยงจากการเป็นโรคหัวใจและโรคมะเร็ง โดยการทานแอพริคอต 100 กรัม จะได้รับวิตามินเอมากกว่าร้อยละ 30 ของปริมาณที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันเลยทีเดียวนอกจากนี้ยังมีวิตามินซีช่วยให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง, มีโพแทสเซียมสูงช่วยลดความดันโลหิต มีเหล็กที่เป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง เหมาะกับผู้ที่มีภาวะโลหิตจาง

3.แตงกวาญี่ปุ่น

แตงกวาญี่ปุ่นมีเอ็นไซม์อีเรพซิน (erepsin) ช่วยย่อยโปรตีน โดยสรรพคุณของแตงกวาช่วยขับปัสสาวะ, แก้ไข้, กระหายน้ำ, ใบแตงกวาช่วยแก้ท้องเสียและลดความดันโลหิตสูง แตงกวาญี่ปุ่นนิยมทานสดๆ แต่ก็นำมาประกอบอาหารได้หลายชนิด ไม่ว่าจะผัด, ต้ม, ดอง, นึ่ง หรือคั้นน้ำเป็นเครื่องดื่มก็ตามทานโปรตีน Ferty ทุกวัน เชคกับนมแพะหรือนมอัลม่อน