กุยช่าย สมุนไพร ได้รับความนิยมมาตั้งแต่ในอดีตโดยการนำใบมารับประทานเป็นอาหาร นอกจากนี้เพื่อนๆรู้หรือไม่ว่าต้นกุยช่ายเป็นอย่างไร ประโยชน์และสรรพคุณของกุยช่าย เช่น ลดความดัน บำรุงกระดูก แก้ท้องเสีย โทษของกุยช่ายมีอะไรบ้าง ชนิดของกุยช่าย กุยช่าย มีอยู่ 3 ชนิด คือ กุยช่ายเขียว กุยช่ายขาว และ กุยช่ายดอก โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ลักษณะของต้นกุยช่าย จัดเป็นพืชล้มลุก สามารถขยายพันธ์ได้โดยการใช้เมล็ดและการแตกกอ มีลักษณะ ดังนี้ คุณค่าทางโภชนาการของกุยช่าย สำหรับการบริโภคกุยช่าย มีประโยชน์ต่อร่างกาย นักโภชนาการได้ศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของกุยช่าย มีดังนี้ สรรพคุณของกุยช่าย สำหรับการใช้ประโยชน์จากกุยช่าย ด้านการบำรุงร่างกายและการรักษาโรค สามารถใช้ประโยชน์จาก ใบกุยช่าย รากกุยช่าย เมล็ดกุยช่าย ลำต้น โดยรายรายละเอียด ของสรรพคุณของกุยช่าย มีดังนี้ โทษของกุยช่าย สำหรับการบริโภคกุยฉายในปริมาณที่มากเกินไป หรือ กินติดต่อกันนานเกินไป สามารถทำให้เกิดโทษต่อร่างกายได้ ข้อควรระวังในการรับประทานกุยช่าย มีดังนี้
ตะไคร้เป็นสมุนไพรที่เราทุกคนรู้จักกันดี จะเห็นได้จาการนำตะไคร้มาใช้ในการประกอบอาหารและตะไคร้ยังเป็นสมุนไพรที่มีคุณค่าทางอาหารและสมุนไพรมากมาย มีสรรพคุณทางการแพทย์หลายข้อ ปัจจุบันการแพทย์ถูกเปิดกว้างมีการนำเอาเทคโนโลยี และสมุนไพรไทยมาประยุกต์มากขึ้น สรรพคุณของตะไคร้ ต้านเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา: ตะไคร้มีสารต้านเชื้อที่ช่วยในการป้องกันและทำลายเชื้อโรคที่เป็นตัวช่วยในการต่อต้านการติดเชื้อของแบคทีเรียและเชื้อรา ลดอาการอักเสบ: สารสกัดจากตะไคร้มีคุณสมบัติในการลดอาการอักเสบในร่างกาย เช่น ใช้ในการรักษาปัญหาที่เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ช่วยในการลดความดันโลหิต: การบริโภคตะไคร้อาจช่วยลดความดันโลหิตสูง โดยมีฤทธิ์ที่ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน: สารสกัดจากตะไคร้มีคุณสมบัติในการเสริมระบบภูมิคุ้มกัน ช่วยให้ร่างกายต้านทานการติดเชื้อได้ดีขึ้น ลดอาการปวด: สารกายภาพในตะไคร้ช่วยบรรเทาอาการปวดต่าง ๆ ได้แก่ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ และอาการเจ็บปวดทั่วไป ลักษณะของตะไคร้ ลักษณะทั่วไป: มีลำต้นกลมและยาว ใบเป็นแผ่นยาวและแหลม มีลักษณะเป็นกลุ่ม ๆ ของใบเป็นฝักสีเขียวเข้มที่มีขนาดประมาณ 1-2 เซนติเมตร ใบตะไคร้มีกลิ่นหอม การเจริญเติบโต: ตะไคร้เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนและชื้น โดยเติบโตได้ดีในดินที่มีความชื้นสูง มักจะเจริญเติบโตเป็นกลุ่มๆ หรือพุ่มเล็ก ๆ สูงประมาณ 1-2 เมตร ใบ: ใบของตะไคร้ยาวประมาณ 30-90 เซนติเมตร มีขอบแหลมและเรียงอยู่ตามแนวของลำต้น มีลักษณะเป็นฝักยาวๆ ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้ในทำอาหารและในการเตรียมสมุนไพร ดอกและผล: ตะไคร้มีดอกเล็ก ๆ สีเหลืองถึงสีแดงที่เรียงราบอยู่ในประสาทตามลำต้น […]
อัญชัญมีสรรพคุณทางยามากมายทั้งยังสามารถใช้ประโยชน์จาดอัญชันได้หลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการนำไปใช้ในการประกอบอาหาร หรือน้ำมาใช้ทำยาสมุนไพรก็ยังสามารถทำได้ ซึ่งในสมัยก่อนอัญชันถือได้ว่าเป็นพืชรั่วที่แทบทุกบ้านจะต้องปลูกเอาไว้ เพราะอัญชันใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย อัยชันมีสรรพคุณอะไรบ้างไปดูกันเลย ลักษณะของต้นอัญชัน อัญชันจัดเป็นไม้ล้มลุกเลื้อยพัน ยาว 1-5 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 3-9 ใบ รูปรีแกมขอบขนานหรือรูปรีแกมไข่กลับ กว้าง 1-3 ซม. ยาว 2-5 ซม. มีดอกสีม่วงๆออกน้ำเงิน ชอบขึ้นอยู่ตามกระทงนา หรือตาต้นไม้ ดอกจะมีสีที่สดสะดุดตา และมีเมล็ดออกเป็นฝักๆ คล้ายๆกับถั่วลันเตา สรรพคุณของอัญชัน
ผักแพวนิยมกินเป็นผักแกล้มอาหารรสจัดทุกชนิด ผักแพวมีรสชาติเฉพาะตัว มีกลิ่นหอม มีรสร้อนแรง กินมาก ๆ จะรู้สึกว่ามีรสปร่าในปาก นิยมเอาไว้กินกับพวกลาบ นอกจากกินกับอาหารแล้วผักแพวยังมีสรรพคุณทางอีกมากมาย มีอะไรบ้างไปดูกันเลย ลักษณะของผักแพว ผักแพว หรือ ผักไผ่ จัดเป็นผักพื้นบ้านจำพวกไม้ล้มลุกมีลักษณะใบเรียวยาวและมีกลิ่นเฉพาะตัวที่แรง ผักแพวเป็นผักทีมีลักษณะลำต้นคล้ายต้นไผ่ และที่ตามต้นเหมือนเป็นปล่องไผ่ มีใบยาวรี ปลายแหลมเหมือนใบไผ่ เกิดเองตามธรรมชาติตามที่ชื้นพื้นราบ ตามแอ่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งพบขึ้นได้ที่ตามป่า สามารถกินใบได้ตลอดจนถึงลำต้น ประโยชน์ของผักแพว
กระเทียมเป็นผักที่อยู่คู่กับครัวไทยมาเป็นเวลาแสนนานตั้งแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน กระเทียมรสชาติและกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และเป็นส่วนประกอบของอาหารไทยเกือบทุกอย่างเลยก็ว่าได้ ซึ่งแน่ว่าทุกคนจะต้องคุ้นเคยกระเทียมเป็นอย่างดีอยู่แล้ว แล้วรู้หรือไม่ว่าในกระเทียมอุดมไปด้วยคุณประโยชน์และสรรพคุณมากมาย กระเทียม กระเทียมเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณทางการแพทย์มากมายและนอกจากนี้กระเทียมยังเป็นที่ยอมรับในการรักษาหลายๆ อาการ กระเทียมจึงถูกนำมาพัฒนาและสกัดออกมาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมและยารักษาโรคมากมาย ใช้รักษาคนไข้ทางการแพทย์ทั้งแพทย์ทางเลือก แพทย์แผนไทย และแพทย์แผนปัจจุบันอีกด้วย กระเทียมมีสรรพคุณดังนี้ สรรพคุณของกระเทียม ลดความดันโลหิต: กระเทียมมีสารสำคัญที่ช่วยลดความดันโลหิตได้ เช่น แอลลิซิน ลดระดับไขมันในเลือด: กระเทียมมีฮีกกวีนที่ช่วยลดระดับไขมันในเลือดได้ บำรุงร่างกาย: กระเทียมมีสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยลดการเสื่อมสภาพของเซลล์ ป้องกันโรคซึมเศร้า: กระเทียมสามารถช่วยลดความเครียดและเสริมสุขภาพจิตใจได้
หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยินหรือเคยเห็นมาก่อน สมุนไพรชนิดนี้หาได้ค่อนข้างยากทั่วไป แต่อุดมไปด้วยสรรพคุณที่มากมาย และมีประโยชน์มากมาย ที่หลายๆคนอาจจะไม่เคยรู้มาก่อน มีอะไรบ้างไปดูกันเลย ผักชีล้อม จัดเป็นพืชล้มลุกที่โผล่ขึ้นเหนือน้ำหรือทอดเลื้อยไปตามพื้นผิวดิน มีความสูงของต้นตั้งแต่ 10-100 เซนติเมตร และมีความสูงโดยประมาณอยู่ที่ 60 เซนติเมตร มีลักษณะใบยาวเรียวสีเขียวเข้ม และมีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์ โดยใช้ในทั้งการปรุงอาหารและการรักษาโรค สรรพคุณของผักชีล้อม ช่วยขับลมและบรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ:ช่วยขับลมในกระเพาะอาหารและลำไส้ ลดอาการท้องอืดท้องเฟ้อเสริมสร้างระบบย่อยอาหาร:การบริโภคผักชีล้อมช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบย่อยอาหาร ลดอาการท้องผูกต้านการอักเสบและลดการติดเชื้อ:ผักชีล้อมมีสารต้านการอักเสบและฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด:ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด เหมาะสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงต่อเบาหวานมีสารต้านอนุมูลอิสระ:ผักชีล้อมมีสารต้านอนุมูลอิสระช่วยปกป้องเซลล์จากการถูกทำลายและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง คุณสมบัติของผักชีล้อม 1.ช่วยบำรุงปอด2.ช่วยบำรุงหัวใจ3.ช่วยบำรุงเลือด4.ช่วยดับพิษในร่างกาย5.ช่วยแก้ธาตุพิการ6.ช่วยแก้อาหารหืดหอบ แก้อาการไอ เว็บไซต์อื่นๆเพิ่มเติม ช่วยบำรุงปอด (ผล) ช่วยบำรุงหัวใจ (ทั้งต้น) ช่วยบำรุงเลือด (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) ช่วยดับพิษในร่างกาย (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) ช่วยแก้ธาตุพิการ (ผล) ช่วยแก้อาหารหืดหอบ แก้อาการไอ Medthai